วัดกลาง จังหวัด บุรีรัมย์

501

วัดกลาง ตั้งเมื่อ พ.ศ.2329 เดิมเป็นวัดร้างโบราณ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เสด็จผ่านขณะเดินทัพไปตีเมืองจำปาศักดิ์ จึงโปรดเกล้าให้ยกวัดร้างเป็นวัดมีพระสงฆ์ให้ชื่อว่า “วัดแปะใหญ่” ในสมัยกรุงธนบุรี ตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์เมื่อประมาณ พ.ศ. 2329 ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัดกลาง

วัดกลาง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2399 กรมการศาสนายกขึ้นเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อ พ.ศ. 2509 และได้รับพระกรุณาโปรดเกล้ายกฐานะเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 กระทรวงศึกษาธิการประกาศลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2533

วัดกลาง พระอารามหลวง จังหวัดบุรีรัมย์ มีสระน้ำโบราณอายุ 3,000 ปี เป็นร่องรอยอารยะธรรมขอม มาสร้างเป็นวัดในสมัยอยุธยา พระอุโบสถสร้างแล้วรื้อปรับปรุงหลายครั้ง แต่พระประธานยังคงประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ตลอดมา หลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ด้านหน้า (หลวงพ่อพูดว่า) “ลักษณะของหลวงพ่อโตนี้ก็เป็นพระปางมารวิชัย ข้างในสันนิษฐานว่าจะเป็นหินศลาแลงและโอบด้วยปูน แต่ข้อเท็จจริงเราก็ไม่สามารถแกะออกมาดูได้ หรืออาจจะเป็นทองคำก็ได้” หลวงพ่อโตเป็นพระพุทธรูปหินศิลาแลงลงรัก ปิดทอง ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมาจนเป็นอย่างที่เห็นในทุกวันนี้ (หลวงพ่อพูดว่า) “ก็ถือหลวงพ่อโตอยู่มานาน ก็ใครเป็นคนตั้งก็ไม่สามารถรู้ได้หรือหลวงพ่อโต เพราะเป็นวัดๆ แรกของเมืองนี้ มีวัดเดียวเท่านั้นในสมัยโบราณกาล เจริญพร” ว่ากันว่ามีพระพุทธคุณเมตตาเรื่องการขอบุตรธิดาและให้โชคลาภ ทางวัดเปิดให้พุทธศาสนิกชนเข้าสักการะในวันพระเท่านั้น.

ปัจจุบันวัดกลางพระอารามหลวง เป็นสถานที่ตั้งสำนักงานเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีพระเดชพระคุณ พระเทพปริยัตยาจารย์ เจ้าอาวาสวัดกลางพระอารามหลวง ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์, พระสุนทรธรรมเมธี ,พระศรีปริยัติธาดา ดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์, และมีพระมงคลสุตกิจ (พระมหาบุญถิ่น ปุญฺญสิริ) เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์

Wat Klang, set in 1786, was originally an abandoned temple Somdej Chao Phraya King Suek (Somdet Phra Buddha Yot Fah Chulalongkorn) passed while marching to hit Champasak city So please Kao to give the abandoned temple a temple with a monk named “Wat Pae Yai” in the Thon Buri It was set up as a complete temple around 1786, later in the reign of King Rama V of Rattanakosin, the name was changed to Klang Temple.

Wat Klang was bestowed in the year 1856 by the Department of Religion raised it as a model development temple in 1966 and received the royal kindness as a third class of ordinary monks from the 10th of July. 1990, Ministry of Education announced dated August 8, 1990.

Wat Klang Phra Aram Luang, Buriram Province There is an ancient pond, 3,000 years old, that is a trace of civilized Khmer civilization To build a temple in the Ayutthaya period The temple was built and demolished many times. But the Buddha image is still enshrined in this place all the time. Luang Pho To is enshrined in front (Luang Pho said) “This aspect of Luang Por To is a Buddha image. Inside, it is assumed that it is a slalang stone and entwined with mortar. But in fact, we cannot unpack it. Or maybe it could be gold. ”Luang Pho To, a stone laterite Buddha image with gold lacquer, has been restored until it is what it looks today. (Reverend Father said) “Hold on to Luang Pho To for a long time Who is the one who set it up, can not know or Luang Pho To Because it is a measure First of its kind There is only one temple in the ancient period. ”It is said that Buddha mercy on requesting children and giving fortune. The temple is open for Buddhists to worship on the day of the Buddha only.

Currently, Wat Klang Phra Aram Luang Is the location of the buriram priest office With His Majesty the King Phra Thep Priyatyachan Abbot of Wat Klang Phra Aram Luang Held the position of the priest of Buriram Province , Phra Sri Pariyatthada Hold the position of Deputy Dean of Buriram Province, and Mee Phamongkol Sutakit (Phra Maha Bunthin Punsiri) is the secretary of the priest of Buriram Province.